คุณอยู่ที่นี่
ติวเข้ม PAT 3 ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
PAT 3 ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ : พลิกแพลงโจทย์ เทคนิคเพียบ!! โจทย์ยากแค่ไหนก็ทำได้..
วิเคราะห์ข้อสอบปีล่าสุด!! กับ อ.เฟิร์ส สถิติสอบติด 100%*
เน้นสอบตรงเข้าแพทย์ l สอบตรงเข้าวิศวะ l ยื่น Admission
รายละเอียดหลักสูตร
คณิตศาสตร์ :
- สรุปพื้นฐานการประยุกต์ใช้ จำนวนเชิงซ้อน ทฤษฏีบทเศษเหลือ ที่เกิดจากพหุนามกำลังสาม
- ผลคูณเชิงเวกเตอร์ (Cross Product) และการหาค่ามุม
- limit และอนุกรมออันต์, การแก้สมการของ ลอการิทึม (logarithm)
- การหาจำนวนที่เกิดจาก ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
- การใช้งานสูตรผลบวกของ Sin และ Cos ที่ต้องจัดรูปที่ยุ่งยาก
- ค่าสัมบูรณ์ที่ต้องใช้งานร่วมกับกำลังที่ติด ศูนย์
- การแก้สมการ exponential ที่ผ่านการจัดรูปให้ดูง่าย
- เซตของจำนวนสมาชิกที่ต้องหาค่าจาก สมการ 3 ตัวแปร
- ความน่าจะเป็นของนักเรียนที่ได้ A แบบมีเงื่อนไข
- ค่าน้อยที่สุดที่เกิดจากค่าเฉลี่ยเลขคณิตและค่ากลางของเลขคณิต
- ความชันของกราฟ ที่ต้องทำการ อินทิเกรชัน (integration) ก่อนถึงจะแก้ปัญหาได้
- การอินทิเกรท และความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
- ผลบวกของอนุกรมอนันต์
- ความน่าจะเป็นที่เกิดเมตริกซ์ขนาด 3x3
- จำนวนทั้งหมดที่ 5 หารไม่ลงตัวที่มีการจัดรูปที่เกิดจากการสังเกต,ความน่าจะเป็นที่เกิดจากการ อินทิเกรทชัน และพหุนามกำลังสาม
- อสมาการและจำนวนจริง
- ผลคูณเชิงเวกเตอร์และผลคูณเชิงสเกลา ที่ต้องจัดรูปก่อนหาคำตอบ
- หาตัวแปรที่เกิดจาก เมตริกซ์ 3x3
ฟิสิกส์ :
- เครื่องเคาะสัญญาน ความเร่งและความเร็ว
- กราฟ s-t และระยะทางของพื้นที่ใต้กราฟ
- ความสูงของบอลลูนกำลังเคลื่อนที่ขึ้นแต่ไม่ทราบความเร่งและความเร็วตอนปล่อยวัตถุ
- ระยะทางที่กระสุนนัดที่สองและสามสวนกันพอดี เมื่อถูกยิ่งขึ้นไปในแนวดิ่ง,ระยะทางของลิฟที่ขึ้นจากก้นบ่อ ความเร็วตอนปล่อยไม่ทราบค่า
- ความตึงเชือกที่ใช้สำหรับดึงวัตถุในแนวดิ่ง
- ความเร็วของวัตถุที่ตกกระทบพื้น รอกไร้แรงเสียดทาน
- การได้เปรียบเชิงกล แรงและการเคลื่อนที่ รอก
- การได้เปรียบเชิงกล แรงและการเคลื่อนที่ รอก
- รอกและการเคลื่อนที่เมื่อแรงตึงเชือกมีมุมเอียง
- สรุปพื้นฐานการประยุกต์ใช้ การเคลื่อนที่ของวัตถุ 2 ก้อนบนทางลาดชัน และมุมเอียง
- ทรงกลมตันถูกวางบนพื้นเอียงสองด้าน และแรงลัพธ์ที่กระทำกับทรงกลม
- วางวัตถุซ้อนกันสองก้อนซึ่งมีแรงมากระทำก้อนล่าง ความเร่งของมวล
- กฏอนุรักษ์พลังงานที่เกิดจากพลังงานจลน์และพลังงานศักย์
- กฏอนุรักษ์พลังงานที่เกิดจากพลังงานจลน์และพลังงานศักย์ของสปริง
- การเคลื่อนที่วิถีโค้งแบบพิเศษที่ต้องแปลงรูปให้ง่ายขึ้น
- ความดันของของเหลวในหลอดแก้วรูปตัวยู
- กฏของพาสคาล ความดันของของเหลว
- แรงลอยตัวในของเหลวเมื่อวัตถุลอยอยู่ระหว่างน้ำและน้ำมัน
- ระดับความเข้มของเสียงในหน่วย dB
- ตำแหน่งของภาพที่ได้เกิดผ่านเลนส์นูนสองชิ้น
- แรงระหว่างประจุ 2 ประจุที่ถูกว่างไว้บนพื้นเอียง
- พลังงานในการเคลื่อนประจุไปตามเส้นทางต่างๆ
- แรงเคลื่อนไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้า ของไฟฟ้ากระแสตรงแบบผสม
- ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้า
- กระแสไฟฟ้าที่ไหลในเส้นลวด สนามแม่เหล็ก แรงที่เกิดจากสนามแม่เหล็ก
- แรงเคลื่อนไฟฟ้าของไฟฟ้ากระแสสลับ เวกเตอร์
- กำลังไฟฟ้าเฉลี่ย แรงเคลื่อนไฟฟ้าสูงสุด
- กระแสไฟฟ้าสูงสุดที่เกิดจากค่า อิมพิแดนซ์แบบแปลกๆ
- วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ แรงเคลื่อนไฟฟ้าที่ตกคร่อมตัวเก็บประจุ
วิดีโอแนะนำ
วิดีโอทดลองเรียน